โครงการการจัดการศึกษา ตรี+โท = 5 ปี ผ่าน credit bank

วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมเครื่องกล และวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมเครื่องกล

 

ประโยชน์ที่ผู้เรียนได้รับ

– นักศึกษาสามารถสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีและปริญญาโทได้ภายใน 5 ปี

– นักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาตามโครงการมีความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง

– นักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาตามโครงการมีความสามารถในการทำวิจัย

 

เปรียบเทียบค่าธรรมเนียมการศึกษาปริญญาโท

  • จบ ป. ตรี 4 ปี เรียนต่อ ป. โท 2 ปี ค่าธรรมเนียมการศึกษา ป. โท 120,000 บาท ใช้เวลา 6 ปี
  • เรียนผ่าน credit bank ตรีควบโท ค่าธรรมเนียมการศึกษา ป. โท 60,000 – 73,500 บาท ใช้เวลา 5 ปี (credit bank+ค่าโอน 1,500 ต่อหน่วย )

 

การรับนักศึกษาเข้าร่วมโครงการ

  • นักศึกษาแจ้งความจำนงค์กับคณะกรรมการบริหารหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิศวกรรมเครื่องกล และสามารถเข้าเรียนวิชาในหลักสูตรปริญญาโทตั้งแต่ ภาคการศึกษาปลายชั้นปีที่ 3 หรือ ภาคการศึกษาต้นชั้นปีที่ 4
  • นักศึกษาต้องมีอาจารย์ที่ปรึกษาในการทำวิทยานิพนธ์

 

แผนการเรียน

สำหรับนักศึกษาที่เลือกเรียนวิชาฝึกงาน

  • นักศึกษาฝึกงานที่กลุ่มวิจัยของอาจารย์ที่ปรึกษา
  • วิชา pre-project และ project หัวข้อ project ควรมีหัวข้อตรงกับหัววิทยานิพนธ์
  • หลักสูตรวิศวกรรมศาตรบัณฑิต เปิดวิชาเลือก/เลือกเสรีเพิ่มเติมเพื่อเพิ่มเวลาให้นักศึกษาทำวิทยานิพนธ์ระหว่างเรียนปริญญาตรีได้ ดังนี้
  • Special topics in mechanical systems
  • Special topics in thermal systems
  • Special topics in fluid mechanics
  • Special topics in noise and vibration
  • Special topics in computational mechanics
  • Special topics in aerospace engineering
  • Special topics in artificial intelligence
  • Special topics in automatic control

 

สำหรับนักศึกษาที่เลือกเรียนวิชาสหกิจ

  • นักศึกษาต้องลงเรียนวิชาสหกิจในชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาต้น เพื่อให้มีเวลาทำวิทยานิพนธ์ในชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาปลาย
  • หลักสูตรวิศวกรรมศาตรบัณฑิต เปิดวิชาเลือก/เลือกเสรีเพิ่มเติมเพื่อเพิ่มเวลาให้นักศึกษาทำวิทยานิพนธ์ระหว่างเรียนปริญญาตรีได้ ดังนี้
  • Special topics in mechanical systems
  • Special topics in thermal systems
  • Special topics in fluid mechanics
  • Special topics in noise and vibration
  • Special topics in computational mechanics
  • Special topics in aerospace engineering
  • Special topics in artificial intelligence
  • Special topics in automatic control

 

ตัวอย่างแผนการเรียน (ฝึกงาน)

ชั้นปีที่

ภาคการศึกษา

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมเครื่องกล (จันทร์-ศุกร์) หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมเครื่องกล (จันทร์-ศุกร์)

ผ่าน credit bank

ชั้นปีที่ 1

ภาคการศึกษาต้น

EN 001 100 การพัฒนาทักษะการเรียนรู้

EN 001 203 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

EN 001 205 การพัฒนาทักษะทางวิศวกรรม

LI 101 001 ภาษาอังกฤษ 1

GE 341 511 การคิดเชิงคำนวณและเชิงสถิติสำหรับเอบีซีดี

SC 401 206 แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรมศาสตร์ 1

SC 501 003 ปฏิบัติการฟิสิกส์ทั่วไป 1

SC 501 005 ฟิสิกส์มูลฐาน 1

 

20 หน่วยกิต

 
ชั้นปีที่ 1

ภาคการศึกษาปลาย

EN 001 200 สถิตยศาสตร์

EN 001 202 การเขียนแบบวิศวกรรม

LI 101 002 ภาษาอังกฤษ 2

SC 201 005 เคมีทั่วไป

SC 201 006 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป

SC 401 207 แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรมศาสตร์ 2

SC 501 004 ปฏิบัติการฟิสิกส์ทั่วไป 2

SC 501 006 ฟิสิกส์มูลฐาน 2

 

21 หน่วยกิต

 
ชั้นปีที่ 2

ภาคการศึกษาต้น

EN 002 101 การบ่มเพาะจิตวิญญาณผู้ประกอบการ

EN 002 204 วัสดุวิศวกรรม

LI 102 003 ภาษาอังกฤษ 3

SC 402 302 สมการเชิงอนุพันธ์สำหรับวิศวกรรมศาสตร์

EN 414 106 การออกแบบการทดลองทางวิศวกรรม

EN 512 200 พลศาสตร์

EN 512 300 อุณหพลศาสตร์ 1

 

21 หน่วยกิต

 
ชั้นปีที่ 2

ภาคการศึกษาปลาย

LI 102 004 ภาษาอังกฤษ 4

GE 341 512 เอบีซีดีสำหรับทุกวิชาชีพ

SC 402 202 แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรมศาสตร์ 3

EN 512 201 กลศาสตร์ของวัสดุ

EN 512 202 กลศาสตร์เครื่องจักรกล

EN 512 301 อุณหพลศาสตร์ 2

EN 512 302 หลักมูลกลศาสตร์ของไหล

 

21 หน่วยกิต

 
ชั้นปีที่ 3

ภาคการศึกษาต้น

EN xxx xxx วิชาเลือก

EN 211 001 หลักมูลของวิศวกรรมไฟฟ้า

EN 513 000 การจัดการทางวิศวกรรม และเศรษฐศาสตร์

EN 513 203 การสั่นสะเทือนทางกล

EN 513 303 การถ่ายโอนความร้อน

EN 513 600 การทดลองทางวิศวกรรมเครื่องกล 1

EN 513 602 กระบวนการออกแบบทางวิศวกรรม

EN 513 603 หลักมูลของการออกแบบเครื่องจักรกล

 

21 หน่วยกิต

 
ชั้นปีที่ 3

ภาคการศึกษาปลาย

EN 003 102 การเตรียมความพร้อมในการทำงานและการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง

EN 513 304 การทำความเย็นและการปรับอากาศ

EN 513 400 การควบคุมอัตโนมัติ

EN 513 601 การทดลองทางวิศวกรรมเครื่องกล 2

EN 513 604 การออกแบบชิ้นส่วนเครื่องจักรกล

EN 513 800 การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบระบบเชิงกล

EN 412 500 กระบวนการผลิต

 

19 หน่วยกิต

EN 007 001 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

3 หน่วยกิต

ชั้นปีที่ 3

ภาคการศึกษาพิเศษ

EN 513 796 การฝึกงาน สถานที่ฝึกงานคือหน่วยวิจัยของอาจารย์ที่ปรึกษา

 

1 หน่วยกิต (ไม่นับหน่วยกิต)

 
ชั้นปีที่ 4

ภาคการศึกษาต้น

XX xxx xxx วิชาเลือกเสรี

EN 514 000 การจัดการความปลอดภัย

EN 514 500 วิศวกรรมโรงจักรต้นกำลัง

EN 514 998 การเตรียมโครงการวิศวกรรมเครื่องกล

 

13 หน่วยกิต

EN 547 898 วิทยานิพนธ์

 

 

 

 

 

3 หน่วยกิต (0 หน่วยกิต)

ชั้นปีที่ 4

ภาคการศึกษาปลาย

XX xxx xxx วิชาเลือกเสรี

EN xxx xxx วิชาเลือก

GE 362 198 พลังงานและสิ่งแวดล้อม

EN 514 999 โครงการวิศวกรรมเครื่องกล

 

14 หน่วยกิต

EN 547 898 วิทยานิพนธ์

 

 

 

 

3 หน่วยกิต (1 หน่วยกิต)

ชั้นปีที่ 5

ภาคการศึกษาต้น

  EN 547 898 วิทยานิพนธ์

 

15 หน่วยกิต (15 หน่วยกิต)

ชั้นปีที่ 5

ภาคการศึกษาปลาย

  EN 547 898 วิทยานิพนธ์

 

15 หน่วยกิต (20 หน่วยกิต)